วันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

โครงการอักขรศิลป์ " ทรงพระเจริญ "

:: ขอเรียนเชิญออกแบบอักขรศิลป์ “ทรงพระเจริญ” ::::

เนื่องจากกลุ่มคณะวิชาศิลปกรรมศาสตร์ คณาจารย์ นักออกแบบ ศิลปิน บริษัท สยามพิวรรธน์ และองค์กรเอกชนต่างๆได้ร่วมกันจัดโครงการอักขรศิลป์ ทรงพระเจริญ ซึ่งเป็นโครงการออกแบบ และเผยแพร่อักขรศิลป์ ทรงพระเจริญ รูปแบบใหม่ เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา และจะมีการรวบรวมผลงานอักขรศิลป์ ทรงพระเจริญ จากนักออกแบบและผู้ที่ส่งผลงานเข้าร่วม เพื่อจัดแสดงในระหว่างวันที่ 14 - 17 ธันวาคม 2550 บริเวณ โถงชั้น 1 สยามดิสคอพเวอรี่เซ็นเตอร์ และผ่านเว็บไซต์ http://www.songpracharoen.org/


จึงใคร่ขอเรียนเชิญท่านซึ่งเป็นนักออกแบบ ให้เกียรติเข้าร่วมโครงการอักขรศิลป์ ทรงพระเจริญ โดยออกแบบอักขรศิลป์ ทรงพระเจริญ รูปแบบใหม่ขึ้น เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา

:: โดยมีกำหนดส่งผลงานออกแบบดังนี้ ::
ออกแบบอักขรศิลป์ ทรงพระเจริญ
ขนาด A2 (60 x 42 ซม.)
ส่งเป็น File ภาพ jpeg โดยให้มีความละเอียด 150 – 300 dpi
:: ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2550 ::













^ผลงานของ สันติ ลอรัชวี - Practical®studio













^ผลงานของ ธนโชติ ทรัพย์เรืองนาม - Practical®studio












^ผลงานของ อนุทิน วงศ์สรรคกร และ พฤติกรรมการออกแบบ













^ผลงานของ อนุทิน วงศ์สรรคกร และ พฤติกรรมการออกแบบ













^ผลงานของ ณัฐิกา เลิศวิมลนันท์ - Practical®studio













^ผลงานของ สุรัติ โตมรศักดิ์ Try to be nice













^ผลงานของ ปริวัฒน์ อนันตชินะ ( Case Inc. )
^ผลงานของ กัมปนาท เฮี้ยนชาศรี ( Case Inc. )
:: สอบถามเพิ่มเติม ::อ.พิมพ์จิต ตปนียะ อ.นิจจัง พันธพจน์คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โทร. 02-902-0299 ต่อ 2610, 2618 โทรสาร 02-516-6120หรือที่ Practical®Studio โทร. 02-9382300-4 ต่อ 1003

ผลงาน Josef Muller Brockmann

^ 1950 เป็นการใช้ภาพประกอบจัด Typography เป็นโปสเตอร์ของ Zurich Kunstgewerbe musem เป็นการใช้ภาพประกอบกับการจัด Typo




^ 1951 Zurich Concert Hall Poster ใช้เทคนิคการปริ้นสีดำและพื้นนกลังเป็นสีครีม (Lino cut) เป็นโปสเตอร์ในปี 1951


^ 1952 Zurich Concert Hall Poster ในปีถัดมาใช้เทคนิค (Lino block) ในการพิมพ์ตัวหนังสือและโปสเตอร์แบบนี้ยังใช้ในงานนี้มาตลอดจนถึงปี 1954 แต่เพียงแค่เปลี่ยนการจัดวางและสีมาตลอดทุกปีจน 1954




^ 1952 Zurich Concert Hall Poster for piano อันนี้เป็นงาน piano ในปีเดียวกัน Muller มีแรงบรรดาลใจในการทำงานชิ้นนี้มาจาก คีบอร์ด เปียโน
1953 งานนี้เป็นโปสเตอร์จของ Kanstgewerbe Musem ใช้เทคนิคการ Light painting ของการถ่ายภาพ Brockmann ทำโปสเตอร์งานนี้ร่วมกับศิลปินคนอื่นในงาน The International Poster Exhibition

^ 1955 Zurich Concert Hall Poster ในปี 1955 ซึ่งเพิ่งมาเปลี่ยนหลังจากที่ใช้แบบเดิมมา 3 ปี ใช้เทคนิค Text รวมกับ Abstract from แต่เขาก็ยังยืนยันว่าไม่ใช่ภาพประกอบ

วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

Interantional style 1950-1970

International style ได้รับอิทธิพลทางการออกแบบ มาจาก swiss style เป็นงานกราฟฟิกที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นใน swisszerland ในช่วงปี 1950 งานจะเน้นย้ำเรื่องความสะอาด รูปแบบงานจะเป็นแบบ asymmetric layouts ,ใช้ grid และ san-serif งานในยุคนี้จะใช้ Typo และรูปทรงเลขาคณิต ใช้รูปแบบตารางสี่เหลี่ยม Swiss Style ยังเกี่ยวเนื่องกับการใช้รูปถ่ายแทนที่ illustrations หรือ การวาดรูปเขียน งานในรูปแบบ Inter Typo Style หลายชิ้นนั้นมีจุดเด่นที่ Typographyซึ่งเป็นพื้นฐานของรูปแบบนี้เพื่อเพิ่มการใช้ตัวอักษรลงไปด้วย งานประเภทนี้เริ่มต้นที่เมือง ซูริก ใน swisszerland มีนักออกแบบที่โดนเด่นคือ โจเซฟ มุลเลอร์ บรอกแมน

โจเซฟ มุลเลอร์ บรอกแมน (Josef Müller-Brockmann) born May 9, 1914August 30, 1996
มุลเลอร์ เป็นทั้งนักออกแบบและเป็นครูด้วย เค้าเริ่มเรียน Archictecture design และ history of arts ที่ มหาวิทยาลัย Kunstgewerbeschule ในซูริก

ปี 1936 มุลเลอร์ เปิด ซูริก studio โดยเฉพาะสำหรับ graphic designer , excibition design ,photograph

1951 เค้าทำโปสเตอร์ ให้กับ Tonhalle ในซูริก

1958 เค้าเป็นที่ปรึกษาเรื่อง New graphic Design โดยร่วมสร้างกับ R P lohsp ,C.vivarelli และ H Neuberg

1961 เป็นคนเขียนและตีพิมพ์ The graphic Design Artist and his Design Problems and Grid systems

in Graphic Design

1971 ทำหนังสือ - publications History of the Poster and A history of Visual Communacation



v โปสเตอร์ Zurich Concert Hall โดย โจเซฟ มุลเลอร์ บรอกแมน ในปี 1955
เค้าใช้ความละเอียดรอยคอบของงานสมัยใหม่
ของการใช้จำนวน text น้อยมาบวกรูปแบบ forms
ที่เป็น abstract แต่ไม่ใช่ภาพประกอบ










> โปสเตอร์ จาก Zurich Kunsthausโดย โจเซฟ มุลเลอร์ บรอกแมน ในปี 1953 ใช้หลักของ geometricalในการออกแบบ


อิทธิพล International style เข้ามาใน America ได้อย่างไร?

ในช่วง 1950-1960 ได้มีการรวมตัวด้านการออกแบบเป็นหน่วยงานถึงในช่วงปี 1970 ถือได้ว่าเป็นช่วงจุดสูงสุดทางการออกแบบเลยก็ว่าได้
ปี 1970 นักออกแบบ Bunnell ได้ชักจูงนักออกแบบจากหลายที่มาร่วมงานเช่น
-Ulm Journals จากสิ่งพิมพ์ในเยอรมันนี

-New Graphic Design จาก Magazine ใน Swisszerland

-Josef Muller - Brockmann

-Karl Gerstner

ซึ่ง มุลเลอร์ บรอกแมน คือ ผู้ที่มีบทบาทที่เด่นในยุค Swiss style การ Design ใน America ก็อาจได้รับอิทธิพลมาจาก มุลเลอร์ ทำให้การ design ใน america มีความคล้ายคลึงกับในยุค Swiss style มาก

หลังมีการรวมตัวกันเป็นหน่วยงานในปี 1970 Bunnell ก็เป็นผู้นำ ด้าน design งานก็มาในรูปแบบ เรขาคณิต จะเป็นงานใช้สีเดียว และตัวอักษรเป็นแบบโรมันการออกแบบของ Bunnell ได้ใช้ paper และ printing เข้ามาด้วย ทำให้เกิดอุตสาหกรรมในการผลิตงานในภายหลัง

-นักออกแบบที่โดดเด่นในยุค International Typographic Style

Paul Rand -เค้าเรียนทางด้าน Art & Design จาก Pratt Institute Paul Rand เริ่มทำงาน ตอนอายุ 23 ปี ในตำแหน่ง Art Director ของ Esquire & Apparel Art magazine ในขณะนั้น Graphic communication จะมีบทบาทเด่นมากในด้าน การวาดภาพประกอบ , พาดหัว , ตัวอักษรเรียบๆ การใช้สีในงานของ Paul Rand ได้รับอิทธิพลจาก งานเขียนต่างๆ เช่น งานของ Picasso

วันเสาร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

Blind font...


Thing!!!(sound)ประตูลิฟท์เปิด เมื่อเอื้อมมือไปกดเลขชั้น ก็ไปโดนปุ่มเล็กๆ มันก็คืออักษร Braille ที่ไว้ใช้สำหรับคนพิการทางสายตาให้เข้าใจสิ่งที่ต้องการสื่อสาร ผมจึงอยากรู้ว่าเค้าอ่านกันด้วยวิธีไหน แล้วระบบตัวพิมพ์เป็นอย่างไร เลยลอง search หาดูจึงนำมาให้ดูกัน เผื่อเอาไว้หัดลองอ่านกันดู ก็เหมือนการเรียนอีกภาษาที่อาจไมต้องใช้สายตาในการอ่าน...







The braille system, devised in 1821 by Frenchman Louis Braille, is a method that is widely used by blind people to read and write. Each braille character or cell is made up of six dot positions, arranged in a rectangle containing two columns of three dots each. A dot may be raised at any of the six positions to form sixty-four (26) permutations, including the arrangement in which no dots are raised. For reference purposes, a particular permutation may be described by naming the positions where dots are raised, the positions being universally numbered 1 to 3, from top to bottom, on the left, and 4 to 6, from top to bottom, on the right. For example, dots 1-3-4 would describe a cell with three dots raised, at the top and bottom in the left column and on top of the right column, i.e., the letter m. In braille, pages are separated by a line so that you can feel going across the page.
The braille system was based on a method of communication originally developed by
Charles Barbier in response to Napoleon's demand for a code that soldiers could use to communicate silently and without light at night called night writing. Barbier's system was too complex for soldiers to learn, and was rejected by the military; in 1821 he visited the National Institute for the Blind in Paris, France, where he met Louis Braille. Braille identified the major failing of the code, which was that the human finger could not encompass the whole symbol without moving, and so could not move rapidly from one symbol to another. His modification was to use a 6 dot cell — the braille system — which revolutionized written communication for the blind.